กำหนดรูปแบบข้อความที่เป็นหัวเรื่อง
สำหรับเอกสารที่มีหลาย ๆ หัวเรื่อง และเป็นลำดับจากหัวเรื่องใหญ่ไปหัวเรื่องเล็ก เราจะใช้หัวเรื่องที่มีขนาดตัวอักษรแตกต่างกัน เพื่อแยกแต่ละหัวเรื่องอย่างชัดเจน ซึ่งเราสามารถกำหนดหัวเรื่องได้ถึง 6 ระดับ โดยใช้แท็กที่มีรูปแบบดังนี้
ตัวอย่างการกำหนดหัวเรื่อง
ผลลัพธ์ที่ได้
1. แบบ Physical เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรอย่างเจาะจง
2. แบบ Logical ที่ผู้ใช้บราวเซอร์สามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรได้ด้วยตนเอง
กำหนดข้อความเป็นตัวหนา เป็นการเน้นข้อความ จากตัวอักษรปกติให้หนาขึ้น เพื่อเน้นให้รู้ว่าเป็นข้อมูลที่สำคัญ
รูปแบบของคำสั่งข้อความ
เราสามารถนำแท็ก , , มาซ้อนกันได้ ซึ่งจะมีผลทำให้ข้อความมีคุณสมบัติพร้อมกันหลาย ๆ อย่าง เช่น เป็นตัวเอียงที่หนา เป็นตัวหนาที่ขีดเส้นใต้
หากเราต้องการแสดงข้อความในเว็บของเราให้มีขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกัน เราต้องใช้คำสั่ง โดยมี
มีรูปแบบโค้ดดังนี้
ตัวอย่างโค้ด
แสดงข้อความที่มีขนาด n=1
แสดงข้อความที่มีขนาด n=2
แสดงข้อความที่มีขนาด n=3
แสดงข้อความที่มีขนาด n=4
แสดงข้อความที่มีขนาด n=5
แสดงข้อความที่มีขนาด n=6
แสดงข้อความที่มีขนาด n=7
ผลที่ได้
การกำหนดลักษณะตัวอักษร (Physical & Logical)
การกำหนดลักษณะตัวอักษรในเว็บเพจนั้น มีอยู่ 2 วิธี ได้แก่1. แบบ Physical เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรอย่างเจาะจง
2. แบบ Logical ที่ผู้ใช้บราวเซอร์สามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรได้ด้วยตนเอง
กำหนดข้อความเป็นตัวหนา เป็นการเน้นข้อความ จากตัวอักษรปกติให้หนาขึ้น เพื่อเน้นให้รู้ว่าเป็นข้อมูลที่สำคัญ
รูปแบบของคำสั่งข้อความ
กำหนดข้อความเป็นตัวเอียง เป็นการเน้นข้อความ จากตัวอักษรปกติให้เป็นตัวเอียง เพื่อเน้นให้รู้ว่าเป็นข้อมูลที่่น่าสนใจ
รูปแบบของคำสั่ง ข้อความกำหนดขีดเส้นใต้ข้อความ เป็นการเน้นข้อความ เพิ่มจุดสังเกต โดยเราจะใช้แท็ก ในการขีดเส้นใต้
รูปแบบของคำสั่ง ข้อความเราสามารถนำแท็ก , , มาซ้อนกันได้ ซึ่งจะมีผลทำให้ข้อความมีคุณสมบัติพร้อมกันหลาย ๆ อย่าง เช่น เป็นตัวเอียงที่หนา เป็นตัวหนาที่ขีดเส้นใต้
หากเราต้องการแสดงข้อความในเว็บของเราให้มีขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกัน เราต้องใช้คำสั่ง โดยมี
มีรูปแบบโค้ดดังนี้
ตัวอย่างโค้ด
แสดงข้อความที่มีขนาด n=1
แสดงข้อความที่มีขนาด n=2
แสดงข้อความที่มีขนาด n=3
แสดงข้อความที่มีขนาด n=4
แสดงข้อความที่มีขนาด n=5
แสดงข้อความที่มีขนาด n=6
แสดงข้อความที่มีขนาด n=7
ผลที่ได้